วันจันทร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561

คำอธิบายรายวิชา




                                                   ประมวลรายวิชา 


 ชื่อรายวิชา   การออกแบบและการจัดการการเรียนรู้                       หมวดวิชา  วิชาวิชาเฉพาะ
 ระดับวิชา    ปริญญาตรี                                                              รหัสวิชา 3011 1703
 หน่วยกิต  48 หน่วยกิต 3(3-0-6)                                            ภาคเรียนที่ 2/2560
เงื่อนไขรายวิชา ไม่มี                                                             ประเภทวิชา   กลุ่มวิชาชีพครู
อาจารย์ผู้สอน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดอกเตอร์พิจิตรา        ธงพานิช
       1.คำอธิบายรายวิชา

                     ความหมาย      ขบวนการของการออกแบบและการจัดการการเรียนรู้    ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนการ การเรียนรู้การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 สภาวะปัจจุบันและปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในประเทศไทยการวิเคราะห์ผู้เรียนและวิธีที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีการกำหนดจุดประสงค์ของการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางพระราชดำริการบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียนร่วมการพัฒนาและเลือกใช้สื่อนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้การวัดและการประเมินผลตามสภาพจริงและการ เทคนิควิทยากร   การจัดการการเรียนรู้การจัดทำแผนการเรียนรู้ระดับต่างๆ

   2 วัตถุประสงค์

       1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้กระบวนการการเรียนรู้ ขบวนการการเรียนรู้ทฤษฎีเกี่ยวข้องและสภาพการออกแบบจัดการการเรียนรู้ปัจจุบัน       2. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกกระบวนการต่างๆรูปแบบการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี       3.เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาเรียน ที่เรียนและวิชาชีพครูโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนบูรณาการเนื้อหาในสาระการเรียนรู้และการเลือกสื่อนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้และเทคนิควิทยาการจัดการการเรียนรู้และจัดแผนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. กิจกรรมการเรียนการสอน

 1. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนและตำราเกี่ยวข้องวิชาการออกแบบและการจัดการการเรียนรู้  2. บรรยายและสรุปสาระการเรียนรู้โดยอาจารย์ประจำวิชา  3. อธิบายวิเคราะห์วิจารณ์และซักถาม  4 .ศึกษาเอกสารและรายงานหน้าชั้น  5. ปฏิบัติกิจกรรมและกิจกรรมรายบุคคล  6. ทดลองสอบปลายภาคเรียน

  5. สื่อการเรียนการสอน

                   1. เอกสารประกอบการสอนตำราสิ่งพิมพ์ต่างๆ
                      2. วิชาเกี่ยวกับการสอนและเรื่องที่เกี่ยวข้อง
                      3. กิจกรรมกลุ่มคำถามท้ายบท
                          4. สื่อสไลด์ Powerpoint

          6. เอกสารประกอบการศึกษาค้นคว้า

 1. วิชาออกแบบการจัดการการเรียนรู้

7.การเตรียมด้านการวัดผล
 1. สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียน

 1.1 การเข้าเรียนและความสนใจการเข้าร่วมกิจกรรมโดยสม่ำเสมอ           

1.2 การมีส่วนร่วมในการอธิบายและแสดงความคิดเห็น           

1.3 การทำงานกลุ่ม           

1.4 การร่วมแสดงกิจกรรม

 2 การตรวจผลงาน

 2.1 การตรวจรายงานบุคคล            

2.2 ตรวจแรงงานกลุ่ม            

2.3 ตรวจคำถามท้ายบทและประเมินผลงาน

เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล

  1. การวัดผล
  2.  คะแนนร่วมระหว่างภาคร้อยละ 70

 2.1 ศึกษาเอกสารรายงานหน้าชั้น   -ร้อยละ 10
     2.2 ประเมินกิจกรรมเทคนิคการออกแบบจัดการการเรียนรู้  ร้อยละ 10
    2.3 ประเมินผลจากการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้   ร้อยละ 20
    2.4 ความสนใจและเข้าชั้นเรียน   ร้อยละ 10
    2.5 คะแนนสอบปลายภาคเรียน    ร้อยละ 20          

 3.  คะแนนสอบปลายภาค  ร้อยละ 30
 4 . ขาดเรียนครบกำหนด 4 ครั้งไม่มีสิทธิ์สอบและปรับผลการเรียนเป็น ในรายวิชานี้



8. เกณฑ์การประเมินผล

ค่าคะแนนที่ได้  (ร้อยละ) ค่าระดับผลการเรียน  

   80 - 100          A
   75 – 79          B+
   70 – 74           B
   65 – 69        C+
   60 – 64        C
   55 – 59       D
   50 – 54       D+
   0 – 49        F
   ไม่ส่งงาน  / ขาดสอบ  I


10. ติดต่อกับอาจารย์ผู้สอนได้ในเวลาที่มหาวิทยาลัยปิดทำการ

                   
การผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิจิตรา ธงพานิช E- mail jeab1107@hotmail.com
ชั้น 2 ห้องสาขาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
คณะศรุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม


      ประวัติส่วนตัว                                                        


นางสาวสุกัญญา    แสนสุโพธิ์
เลที่ 23 ห้อง 3 รหัสนักศึกษา 593150310856 
สาาขาภาษาอังกฤษ  ปี 2 คณะศุรุศาสตร์
มหาวิทยาลัยนครพนม 



โมเดลการทำความเข้าใจ

สรุป          จากภาพแสดงให้เห็นว่าความสำคัญของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพโดยการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติตนในทางที่ดีคือการเ...