วันพุธที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2561

วิธีการสอนแบบปุจวิสัชนา



วิธีการสอนแบบปุจวิสัชนา
            เป็นการเรียนรู้แบบถามตอบเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักคิดและรู้จักหาคำตอบด้วยตนเองการตั้งคำถามผู้ตั้งคำถามจะต้องใช้ความคิดในการตั้งคำถามขณะเดียวกันผู้ตั้งคำถามจะต้องมีคำตอบอยู่ในใจการสอนแบบนี้ในการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์วิจารณ์และผู้เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาในการสื่อสารวิธีการสอนแบบปุจฉาวิฉันชนาจะใช้ในการเรียนรู้ได้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้

            ขั้นตอนการสอนแบบปุจฉาวิสัสชนามี6ขั้นตอนดังนี้
            ขั้นที่ 1 แนะนำรูปแบบการเรียน ผู้สอนกับผู้เรียนจะกำหนดหัวข้อการเรียนและจุดประสงค์การเรียนรู้หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและขั้นตอนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนกำหนดหัวข้อของการตั้งคำถามให้จุดประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนกำหนดหัวข้อของการตั้งคำถามให้ตรงจุดประสงค์
            ขั้นที่ 2 อ่านหรือดูสื่อเพื่อหาความรู้และเตรียมคำถามผู้เรียน ศึกษาความรู้จากแหล่งต่างๆหรือสิ่งที่ผู้สอนเตรียมไว้ให้โดยแบ่งผู้เรียนเป็นกลุ่มกลุ่มละหกถึงแปดคุณผู้เรียนศึกษาสื่อและตั้งคำถามลักษณะของคำถามจะแบ่งได้เป็นสามลักษณะดังนี้
            1.การตั้งคำถามที่เป็นข้อเท็จจริง                                   
            2.คำถามที่ต้องการคำอธิบายชี้แจง
            3.คำถามเกี่ยวกับการประเมินคุณค่าเนื้อหาหรือความคิด
            ขั้นที่ 3 วางแผนและการจัดกลุ่มคำถาม ผู้เรียนแต่ละกลุ่มจะจัดกลุ่มคำถามของตนตามเนื้อหาสาระที่เป็นเรื่องเดียวกันเข้าด้วยกันคัดเลือกประเด็นคำถามที่ไม่ตรงประเด็นออกแล้วนำคำถามของทุกกลุ่มมารวมกัน
            ขั้นที่ 4 ดำเนินการถามตอบ ควรมีการจัดที่นั่งในการดำเนินการโดยผู้ตอบคำถามจากหนังหน้าฉันส่วนผู้ถามจะนั่งด้านข้างของผู้ตอบคำถามมุมใดมุมหนึ่งของห้องเรียน
            ขั้นที่ 5 ทบทวนและสรุปความรู้ ครูผู้สอนและผู้เรียนช่วยกันสรุปเนื้อหาสาระตามประเด็นคำถามโดยจัดหมวดหมู่ของเนื้อหาสาระความรู้เข้าด้วยกันและตั้งเป็นหัวข้อเรื่องที่เป็นคำตอบคล้ายกันเข้าด้วยกัน
            ขั้นที่ 6 กิจกรรมสร้างสรรค์ เมื่อตอบประเด็นคำถามหมดทุกประเด็นแล้วผู้เรียนแต่ละกุมจะประชุมเพื่อวางแผนกิจกรรมเช่นทำจมูกถามตอบเขียนบทความประกวดสมุดบันทึกความรู้บทวิจารณ์เขียนแผนภูมิด้วยแผนความคิด (mind mapping)จัดทำป้ายนิเทศ สรุปความคิดรวมกันทั้งชั้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

โมเดลการทำความเข้าใจ

สรุป          จากภาพแสดงให้เห็นว่าความสำคัญของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพโดยการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติตนในทางที่ดีคือการเ...