วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2561

การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)


การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
วิธีการ/เครื่องมือที่หลากหลาย   ดังนี้
1. สิ่งที่ต้องการวัด
               1.1  ความรู้   ประเมินความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระจากการตรวจชิ้นงาน  ประกอบด้วย
                           -    การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
                           -    การวิเคราะห์  สังเคราะห์ความรู้  และเขียนสื่อความ
                           -    การนำเสนองาน
                          1.2   ทักษะกระบวนการ  ประเมินความสามารถที่ปฏิบัติได้   ประกอบด้วย
                                      -   การทำงานเป็นขั้นตอน 
                                      -   การทำงานกลุ่ม
                           -   การแก้ปัญหาการทำงาน                                          
               1.3  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ :  ประเมินการแสดงออกซึ่งคุณลักษณะที่พึงประสงค์   ประกอบด้วย
                           -   รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์                     -   อยู่อย่างพอเพียง
                           -   ซื่อสัตย์ สุจริต                                  -   มุ่งมั่นในการทำงาน
                           -   มีวินัย                                                 -   รักความเป็นไทย
                           -   ใฝ่เรียนรู้                                           -   มีจิตสาธารณะ
               1.4 สมรรถนะสำหรับผู้เรียน : ประเมินการแสดงออกซึ่งสมรรถนะสำหรับผู้เรียน ประกอบด้วย
                           -  ความสามารถในการสื่อสาร
                           -  ความสามารถในการคิด
                           -  ความสามารถในการแก้ปัญหา
                           -  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
                           -  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
2. เกณฑ์การประเมิน :  แบ่งเป็น 5 ระดับ   ได้คะแนนระดับ 2 ขึ้นไป  ถือว่าผ่าน ดังนี้    
                           -    ระดับ  5  =   ดีมาก
                           -    ระดับ  4  =   ดี   
                           -    ระดับ  3  =   ปานกลาง
                           -    ระดับ  2  =   พอใช้(ผ่านเกณฑ์)   
                           -    ระดับ  1  =   ปรับปรุง(ไม่ผ่านเกณฑ์)


3. หลักฐาน/วิธีการประเมิน/เครื่องมือประเมิน :  แบบสำรวจ  แบบบันทึกการเรียนรู้   
ใบมอบหมายงาน  แบบประเมินงานกลุ่ม
               3.1   แนวทางการประเมินคะแนน เรื่อง คำศัพท์สีภาษาอังกฤษ
หลักฐาน
วิธีการประเมิน
เครื่องมือประเมิน
ความรู้ความเข้าใจ
1.  แบบสำรวจงานในบ้าน
1.  ตรวจแบบสำรวจ
1.  ใบงาน
ความสามารถ/ทักษะ
1. การทำงานเป็นขั้นตอน
1. ตรวจแบบสำรวจ

1. ใบงาน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / เจตคติ
1.  ความรับผิดชอบ
1.  ความรับผิดชอบ

1.  การส่งงาน

 
               3.2    แนวทางการประเมินคะแนน   เรื่อง  วิธีและขั้นตอนการทำงาน (ใบงานที่2)

หลักฐาน
วิธีการประเมิน
เครื่องมือประเมิน
ความรู้ความเข้าใจ
1.  ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีและขั้นตอนการทำงาน
1.  ตรวจการทำงานกลุ่ม
1.  ใบงาน
ความสามารถ/ทักษะ
1.  การทำงานเป็นขั้นตอน
2.  การทำงานกลุ่ม    
3.  แก้ปัญหาการทำงาน

1. การทำงานกลุ่ม

1. ใบงาน
2. แบบประเมิน
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ / เจตคติ
1.  ความรับผิดชอบ 
2.  การเสียสละ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่  และมีน้ำใจ
1.  การทำงานกลุ่ม
2.  การทำงานกลุ่ม
1.  แบบประเมิน
2.  แบบประเมิน







4. เกณฑ์การให้คะแนนชิ้นงาน   
               หน่วยการเรียนรู้ที่  1 เรื่อง    (ใบงานที่1)
               4.1   ความสามารถในการสร้างองค์ความรู้(K)
ความสามารถในการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
ระดับคุณภาพ
5
4 
3 
2
1
1. ทำงานตามที่ได้รับมอบหมายเต็มที่               
2. สำรวจข้อมูลตามประเด็นที่กำหนด
3. วิเคราะห์ ตรวจสอบ4. เลือกข้อมูลที่ถูกต้อง
5. บันทึกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยผลงานดี  มีคุณภาพ
1. ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย               
2. สำรวจข้อมูลตามประเด็นที่กำหนด
3. วิเคราะห์  เลือกข้อมูลที่ถูกต้อง
4. บันทึกข้อมูลเสร็จเรียบร้อยผลงานดี 
1. ทำงานตามคำสั่ง               
2. สำรวจข้อมูล
 3.  เลือกข้อมูลบันทึกข้อมูลเสร็จ
1. สำรวจข้อมูล
2. เลือกข้อมูลได้งานเสร็จตามกำหนด
1. สำรวจข้อมูลได้เล็กน้อย
            
           4.2   เกณฑ์ประเมินกระบวนการทำงาน(P)
เกณฑ์ประเมินกระบวนทำงาน / การทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
ระดับคุณภาพ
5
4
3
2
1
1.วิเคราะห์งาน
ก่อนลงมือทำงาน
2. วางแผนทำงาน
3. สำรวจข้อมูลตามประเด็นที่กำหนด
4. ตรวจสอบข้อบกพร่องงานที่ทำ
5. แก้ไขปรับปรุงงาน
ให้ดีขึ้นก่อนส่ง
1.วิเคราะห์งานที่ทำ
2. วางแผนทำงาน
3. สำรวจข้อมูล
4. ตรวจสอบแก้ไขงานให้ดีขึ้นก่อนส่ง
1.วิเคราะห์งาน
2.  สำรวจข้อมูล
3. ตรวจสอบแก้ไขงานก่อนส่ง
1. สำรวจข้อมูล
2. บันทึกข้อมูลได้พอสมควร
1. สำรวจและบันทึกข้อมูลได้เล็กน้อย
                
              

4.3    เกณฑ์ประเมินกระบวนการกลุ่ม(P)
                  เกณฑ์ประเมินความสามารถในการทำงานกลุ่ม / การมีส่วนร่วมกันทำงาน
ระดับคุณภาพ
5
4
3
2
1
1. ปฏิบัติหน้าที่
ตาม บทบาทตนเอง
2. ทำงานตามที่
ได้ รับมอบหมาย
3. ปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่ม
4. รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
5. ทำงานเสร็จเรียบร้อยผลงานดี
1. ปฏิบัติหน้าที่
ตาม บทบาทตนเอง
2. ทำงานตามที่ได้ รับมอบหมาย
3. รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
5. ทำงานเสร็จเรียบร้อยผลงานดี
1. ปฏิบัติหน้าที่
ตาม บทบาทตนเอง
2. ทำงานตามที่ได้ รับมอบหมาย
3. ทำงานเสร็จเรียบร้อยผลงานพอใช้
1. ปฏิบัติงานในส่วนของตนเอง
2. ทำงานเพียงแค่ให้งานเสร็จ
1.ไม่ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม
4.4   เกณฑ์ประเมินกระบวนการแก้ปัญหาการทำงาน(P)
เกณฑ์ประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาการทำงาน
ระดับคุณภาพ
5
4
3
2
1
1. ตรวจสอบการทำงาน
2. ทราบปัญหาที่เกิดขึ้น
3. วิเคราะห์ผลกระทบ
จากปัญหาที่เกิดขึ้น
4. กำหนดวิธีแก้ปัญหา
5. เลือกวิธีแก้ปัญหาตรงประเด็น  เกิดประโยชน์มากที่สุด
1. ตรวจสอบการทำงาน
2. ทราบปัญหาที่เกิดขึ้น
3. กำหนดวิธีแก้ปัญหา
5. เลือกวิธีแก้ปัญหา
ได้ตรงประเด็น 
1. ทราบปัญหา
ที่เกิดขึ้น
3. กำหนด
วิธีแก้ปัญหา
5. เลือก
วิธีแก้ปัญหา
ได้ตรงประเด็น 
1.ทราบปัญหา
ที่เกิดขึ้น
2. แก้ปัญหาเพื่อให้งาน
แล้วเสร็จ
1. ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นแก้ปัญหาไม่ตรงประเด็นงานไม่เสร็จ




4.5    เกณฑ์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความรับผิดชอบ(A)
เกณฑ์ประเมินความรับผิดชอบ / การส่งงาน
ระดับคุณภาพ
5
4
3
2
1
ทำงานเสร็จ
ส่งงานตรงเวลา
ครั้งที่  1 
ทำงานเสร็จติดตาม/ทวงถาม  1  ครั้ง
เหตุผลรับฟังได้  
ทำงานเสร็จติดตาม ทวงถาม   2  ครั้ง
เหตุผลรับฟังได้  
ทำงานเสร็จติดตาม/ทวงถามมากกว่า 2 ครั้ง
 ส่งงานช้ามาก  
ทำงานไม่เสร็จ
ไม่สนใจไม่ส่งงาน
ไม่มีเหตุผล 

4.6    เกณฑ์คุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความเสียสละ(A)
เกณฑ์ประเมินความเสียสละในการทำงาน
ระดับคุณภาพ
5
4
3
2
1
1. ทำงานอย่างตั้งใจ
2. ทุ่มเทให้กับงานเต็มที่
3. เสียสละแรงกาย แรงใจทำงานกลุ่ม
4. ไม่เกี่ยงงาน
5. ช่วยเหลือเพื่อนด้วยความเต็มใจจนงานเสร็จลุล่วงไปด้วยดี
1. ทำงานอย่างตั้งใจ
2. ทุ่มเททำงานเต็มที่
3. เสียสละแรงกาย แรงใจทำงานกลุ่ม
4. ช่วยเหลือเพื่อนจนงานเสร็จลุล่วงไปด้วยดี
1. ทำงานอย่างตั้งใจ
2. ทุ่มเททำงานเต็มที่
3. ช่วยเหลือเพื่อนจนงานเสร็จลุล่วงไปด้วยดี
1. ทำงานเต็มความสามารถ
2. ช่วยเหลือเพื่อนจนงานเสร็จ
1. ทำงานของตนเองไม่ช่วยงานคนอื่น


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

โมเดลการทำความเข้าใจ

สรุป          จากภาพแสดงให้เห็นว่าความสำคัญของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพโดยการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติตนในทางที่ดีคือการเ...